
ตรวจสอบพบ: “มิจฉาชีพ” ปลอมข่าว “Thai PBS” อ้าง “ชาคริต” ถูกจับ
Thai PBS Verify พบคลิปจาก TikTok แอบอ้างใช้ภาพโลโก้ "Thai PBS" ลงคลิปอ้าง "ชาคริต แย้มนาม" นักแสดงจากซิตคอม "เป็นต่อ" ถูกจับพร้อมภรรยาในคดีฟอกเงิน เตือนอย่าหลงเชื่อ
22 พ.ค. 68

ตรวจสอบพบ: “มิจฉาชีพ” ปลอมช่องยูทูบ “Thai PBS” หลอกขายเม็ดฟู่รักษาเบาหวาน
Thai PBS Verify พบคลิปจากช่องยูทูบแอบอ้างใช้ภาพโลโก้ "Thai PBS" โดยไม่ได้รับอนุญาต ลงคลิปลวงขายเม็ดฟู่ อ้างทานแล้วเบาหวานดีขึ้นภายใน 15 วัน ลดการฉีดอินซูลินและการพึ่งพายาแผนปัจจุบัน เตือนอย่าหลงเชื่อ
20 พ.ค. 68

ตรวจสอบแล้ว: คลิปอ้าง “แน็ทกินจุ” รถชนเสียชีวิตพร้อมเงิน 10 ล้าน แท้จริงลวงเข้าเว็บพนัน
อย่าหลงกด ! พบคลิปวิดีโออ้าง ยูทูบเบอร์ชื่อดังสายกิน "แน็ทกินจุ" เสียชีวิตจากอุบัติเหตุพร้อมเงินจากธุรกิจออนไลน์ ตรวจสอบพบนำภาพจากอุบัติเหตุอื่นมาลง หลังคนหลงแอดไลน์
14 พ.ค. 68

ตรวจสอบแล้ว: คลิปอ้าง “ทรัมป์เลือกช่วยอินเดีย สู้ ปากีสถาน” ที่แท้สร้างจากเสียง AI
พบบัญชี Tikkok โพสต์คลิปวิดีโอ โดนัลล์ ทรัมป์ ประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา พูดเกี่ยวกับ ความตึงเครียดระหว่างปากีสถานและอินเดีย โดยในเนื้อหากล่าวสนับสนุนอินเดียหากปากีสถานจู่โจม ซึ่งแท้จริงแล้ว ประธานธิบดี โดนัลด์ ทรัมป์ ไม่ได้สนับสนุนฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง อีกทั้งยังเป็นส่วนหนึ่งในการเจรจายุติสงครามดังกล่าว
14 พ.ค. 68

ตรวจสอบพบ: คลิปอ้าง Thai PBS รายงานข่าว “เพชรา” ป่วย แท้จริงสร้างจาก AI
Thai PBS Verify ตรวจสอบพบคลิปปลอม ใช้โปรแกรม AI ต่อตัดโดยใช้หน้าและเสียงผู้ประกาศข่าวขณะนั่งรายงานข่าวทางช่อง Thai PBS ในคลิปอ้างถึง เพชรา เชาวราษฎร์ นักแสดงและศิลปินแห่งชาติ ว่าถูกนำตัวเข้ารักษาในโรงพยาบาลอย่างเร่งด่วน และได้รับความช่วยเหลือจาก นายแพทย์สันต์ ใจยอดศิลป์ โดยในคลิปตัดต่อได้อ้างถึง การใช้ยา แต่ไม่ได้ระบุว่าเป็นยาชนิดใด
30 เม.ย. 68

ตรวจสอบแล้ว คลิปโผล่อ้างแผ่นดินไหวเชียงใหม่ทำตึกถล่ม
ตรวจสอบพบคลิป TikTok ปลอม อ้างตึกถล่มในพื้นที่ จ.เชียงใหม่ เมื่อวันที่ 21 เม.ย. 68 ที่ผ่านมา จากเหตุแผ่นดินไหว ตรวจสอบพบเป็นเพียงคลิปเก่า ขณะที่คนไม่ทราบหลงแชร์ข่าวนับร้อย
22 เม.ย. 68

จับโป๊ะคลิปจัดฉาก! อ้างเท็จประหารอดีตผู้ว่าแบงก์ชาติจีน
ข่าวปลอมยังคงเป็นภัยเงียบที่ส่งผลกระทบต่อความเข้าใจของประชาชน ล่าสุดบนโลกออนไลน์มีการแชร์คลิปวิดีโอที่อ้างว่าเป็นภาพขณะประหารชีวิตอดีตประธานธนาคารกลางจีน แต่เมื่อตรวจสอบอย่างละเอียดแล้วกลับพบว่าเป็น “คลิปจัดฉาก” ที่ไม่เกี่ยวข้องกับเหตุการณ์จริงแต่อย่างใด บทความนี้จะพาคุณไปเจาะลึกข้อเท็จจริง พร้อมแนะวิธีสังเกตข่าวปลอมก่อนตกเป็นเหยื่อของข้อมูลบิดเบือน
16 เม.ย. 68

ตรวจสอบแล้ว: คลิปช่วยผู้รอดชีวิตตึก สตง. พบเป็นเพียงคลิปเก่า
คลิปอ้างว่าพบผู้รอดชีวิตจากเหตุการณ์ตึก สตง. ถล่ม คนล่าสุด แต่จากการตรวจสอบพบเป็นเพียงคลิปเก่า พบคนหลงเชื่อเข้าไปดูแล้วเกือบ 3 แสนครั้ง
12 เม.ย. 68

ตรวจสอบแล้ว: คลิปอ้าง “ชเวดากองถล่ม” ที่แท้เป็น “เจดีย์ปรียาติ” ในรัฐฉาน
หลังเหตุการณ์แผ่นดินไหวรุนแรงในเมียนมา Thai PBS Verify พบคลิปอ้างเจดีย์ "ชเวดากองถล่ม" แต่จากการตรวจสอบพบว่าเป็นเจดีย์ของวัดแห่งหนึ่งในเมืองพินดายา รัฐฉาน ประเทศเมียนมา เตือนอย่าหลงเชื่อหลังคนแห่ดูไปถึง 10 ล้านครั้ง
31 มี.ค. 68