
ตรวจสอบพบ: “มิจฉาชีพ” ปลอมข่าว “Thai PBS” อ้าง “ชาคริต” ถูกจับ
Thai PBS Verify พบคลิปจาก TikTok แอบอ้างใช้ภาพโลโก้ "Thai PBS" ลงคลิปอ้าง "ชาคริต แย้มนาม" นักแสดงจากซิตคอม "เป็นต่อ" ถูกจับพร้อมภรรยาในคดีฟอกเงิน เตือนอย่าหลงเชื่อ
22 พ.ค. 68

ตรวจสอบแล้ว คลิปโผล่อ้างแผ่นดินไหวเชียงใหม่ทำตึกถล่ม
ตรวจสอบพบคลิป TikTok ปลอม อ้างตึกถล่มในพื้นที่ จ.เชียงใหม่ เมื่อวันที่ 21 เม.ย. 68 ที่ผ่านมา จากเหตุแผ่นดินไหว ตรวจสอบพบเป็นเพียงคลิปเก่า ขณะที่คนไม่ทราบหลงแชร์ข่าวนับร้อย
22 เม.ย. 68

ตรวจสอบแล้ว : ภาพผู้ประท้วงชาวตุรกีสวมชุดปิกาจูเป็นภาพที่สร้างจาก AI
สื่อหลายสำนักได้เผยแพร่ภาพที่แสดงผู้ประท้วงในชุดปิกาจูขณะวิ่งหนีตำรวจพร้อมคำกล่าวอ้างว่าเป็นภาพถ่ายจากการชุมนุมต่อต้านประธานาธิบดีเรเจป ทายยิป แอร์โดอัน ของประเทศตุรกี อย่างไรก็ตาม นี่เป็นภาพที่ถูกสร้างขึ้นด้วยปัญญาประดิษฐ์ (AI)
18 เม.ย. 68

ภาพหมู่บ้านสุดสวยในโปแลนด์ แท้จริงสร้างจาก AI
ภาพของหมู่บ้านที่สร้างล้อมถนนสายหลักเป็นภาพที่สร้างโดยปัญญาประดิษฐ์ ไม่ใช่ภาพถ่ายในโปแลนด์ตามคำกล่าวอ้างเท็จในสื่อสังคมออนไลน์ การค้นหาด้วยกูเกิลพบว่าภาพดังกล่าวถูกสร้างขึ้นด้วยเครื่องมือเอไอของกูเกิล นอกจากนี้ ผู้เชี่ยวชาญกล่าวกับ AFP ว่าพบองค์ประกอบภาพที่ผิดปกติหลายจุด และนายกเทศมนตรีของหมู่บ้านที่ถูกอ้างชื่อในโพสต์ก็ยืนยันกับสื่อโปแลนด์ด้วยว่านี่ไม่ใช่ภาพจริง
10 เม.ย. 68

2 เมษายน “วันตรวจสอบข่าวลวงโลก”
วันตรวจสอบข่าวลวงโลก หรือ วันตรวจสอบข้อเท็จจริงสากล ซึ่งตรงกับวันที่ 2 เมษายนของทุกปี ถือเป็นอีกหนึ่งวันที่มีความสำคัญ โดยเฉพาะกับยุคที่ใครก็สามารถเป็นผู้ผลิตข้อมูลข่าวสารได้แค่ปลายนิ้ว
2 เม.ย. 68

ตำรวจไซเบอร์เอาจริง เตือนหยุดข่าวลวง “วันโกหก”
ตำรวจไซเบอร์ เตือนให้ระมัดระวังการสร้างหรือแชร์ข้อมูลเท็จท่ามกลางสถานการณ์แผ่นดินไหวที่เกิดขึ้นในประเทศไทย โดยเฉพาะในวันที่ 1 เมษายน ซึ่งตรงกับ April Fool’s Day หรือ วันแห่งการโกหก การเผยแพร่ข้อมูลเท็จอาจทำให้สถานการณ์เลวร้ายลง หากพบจะถูกดำเนินคดีตามกฎหมายเด็ดขาด
1 เม.ย. 68

ตรวจสอบพบ : ภาพอ้าง “รอยเลื่อนสะกาย” คนแห่แชร์กว่าพันครั้ง ที่แท้ภาพ AI
แผ่นดินไหวรุนแรงในเมียนมา Thai PBS Verify พบการรายงานอ้างภาพแผ่นดินแยกขนาดใหญ่เป็นภาพของ "รอยเลื่อนสะกาย" ในเมียนมา แต่จากการตรวจสอบพบเป็นเพียงภาพที่สร้างจาก AI เตือนอย่าหลงเชื่อหลังคนแห่แชร์ไปกว่า 1,000 ครั้ง
29 มี.ค. 68

ไม่ใช่ของจริง ! พบภาพอ้างทีมงานรุ่นใหม่ “ดีปซีก” ถูกสร้างมาจาก AI
พบโพสต์อ้างภาพของทีมงานเบื้องหลังสตาร์ตอัปจีน "ดีปซีก" (DeepSeek) ตรวจสอบพบเป็นเพียงภาพถูกสร้างโดยปัญญาประดิษฐ์
6 มี.ค. 68

รู้จัก “Metadata” เครื่องมือ Fact check ตรวจสอบภาพจริง-ปลอม
Thai PBS Verify พาไปรู้จักวิธีตรวจสอบภาพถ่ายด้วย "Metadata" ทักษะที่จำเป็นอย่างยิ่งในโลกยุคดิจิทัล ซึ่งจะมีวิธีการตรวจสอบว่าภาพที่พบเป็นภาพจริงหรือปลอมอย่างไร ติดตามได้ที่นี้
3 ก.พ. 68