EN
title

กฤติมา คลังมนตรี

Verify

ตรวจสอบแล้ว : โพสต์อ้างฝนถล่มภาคเหนือทะลุ 500 มม. จากอากาศยกตัวรุนแรงสุดขั้ว กรมอุตุฯ ชี้ตัวเลขสูงเกินจริง-เกิดขึ้นยาก
สิ่งแวดล้อมและภัยพิบัติ#ข่าวบิดเบือน

ตรวจสอบแล้ว : โพสต์อ้างฝนถล่มภาคเหนือทะลุ 500 มม. จากอากาศยกตัวรุนแรงสุดขั้ว กรมอุตุฯ ชี้ตัวเลขสูงเกินจริง-เกิดขึ้นยาก

โพสต์อ้าง 23-27 พฤษภาคมนี้ ภาคเหนือจะเกิดกระแสอากาศยกตัวรุนแรงสุดขั้วถล่มทุกลุ่มน้ำ และฝนอาจทะลุ 500 มม. ด้านกรมอุตุนิยมวิทยายืนยัน เป็นเพียงฝนตกตามฤดูกาล และอ้างตัวเลขเกินจริง ย้ำว่า ประชาชนควรติดตามข้อมูลจากแหล่งข่าวทางการอย่างใกล้ชิด

22 พ.ค. 68

ตรวจสอบพบ: คลิปอ้าง Thai PBS รายงานข่าว “เพชรา” ป่วย แท้จริงสร้างจาก AI
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี#ข่าวปลอม

ตรวจสอบพบ: คลิปอ้าง Thai PBS รายงานข่าว “เพชรา” ป่วย แท้จริงสร้างจาก AI

Thai PBS Verify ตรวจสอบพบคลิปปลอม ใช้โปรแกรม AI ต่อตัดโดยใช้หน้าและเสียงผู้ประกาศข่าวขณะนั่งรายงานข่าวทางช่อง Thai PBS ในคลิปอ้างถึง เพชรา เชาวราษฎร์ นักแสดงและศิลปินแห่งชาติ ว่าถูกนำตัวเข้ารักษาในโรงพยาบาลอย่างเร่งด่วน และได้รับความช่วยเหลือจาก นายแพทย์สันต์ ใจยอดศิลป์ โดยในคลิปตัดต่อได้อ้างถึง การใช้ยา แต่ไม่ได้ระบุว่าเป็นยาชนิดใด

30 เม.ย. 68

ตรวจสอบพบ : เพจอ้างรับอินฟลูฯ รีวิวโรงแรม แท้จริงสวมรอยบริษัทอสังหาฯ หลอกเงินค่าสมัคร
สังคมและสุขภาพ#ข่าวปลอม

ตรวจสอบพบ : เพจอ้างรับอินฟลูฯ รีวิวโรงแรม แท้จริงสวมรอยบริษัทอสังหาฯ หลอกเงินค่าสมัคร

กลุ่มมิจฉาชีพสร้างเพจหลอกลวงรับสมัครงานอินฟลูเอนเซอร์ นักเขียนรีวิวโรงแรมและนายหน้าอสังหาริมทรัพย์ โดยอ้างรายได้สูง ก่อนเก็บค่าสมัครงานแล้วบล็อกหนี ตำรวจชี้เป็นพฤติกรรมมิจฉาชีพออนไลน์รูปแบบขบวนการ

23 เม.ย. 68

ตรวจสอบแล้ว : ภาพผู้ประท้วงชาวตุรกีสวมชุดปิกาจูเป็นภาพที่สร้างจาก AI
รอบโลก#ข่าวปลอม

ตรวจสอบแล้ว : ภาพผู้ประท้วงชาวตุรกีสวมชุดปิกาจูเป็นภาพที่สร้างจาก AI

สื่อหลายสำนักได้เผยแพร่ภาพที่แสดงผู้ประท้วงในชุดปิกาจูขณะวิ่งหนีตำรวจพร้อมคำกล่าวอ้างว่าเป็นภาพถ่ายจากการชุมนุมต่อต้านประธานาธิบดีเรเจป ทายยิป แอร์โดอัน ของประเทศตุรกี อย่างไรก็ตาม นี่เป็นภาพที่ถูกสร้างขึ้นด้วยปัญญาประดิษฐ์ (AI)

18 เม.ย. 68

ตรวจสอบพบ : คลิปเก่าอ้างว่าเป็นเหตุก่อนเฮลิคอปเตอร์ตกในนิวยอร์ก เม.ย. 68
รอบโลก#ข่าวปลอม

ตรวจสอบพบ : คลิปเก่าอ้างว่าเป็นเหตุก่อนเฮลิคอปเตอร์ตกในนิวยอร์ก เม.ย. 68

หลังจากเฮลิคอปเตอร์ลำหนึ่งตกลงสู่แม่น้ำฮัดสันในนิวยอร์กเมื่อวันที่ 10 เมษายน 2568 ทำให้นักบินและครอบครัวเสียชีวิตยกลำ ผู้ใช้สื่อสังคมออนไลน์ได้นำเสนอคลิปวิดีโอพร้อมคำกล่าวอ้างเท็จว่าเป็นจังหวะก่อนเฮลิคอปเตอร์ตก อย่างไรก็ตาม คลิปดังกล่าวเป็นคลิปเก่าที่แสดงเหตุเฮลิคอปเตอร์ตกบนหลังคาของอาคารสูงในนิวยอร์กตั้งแต่ปี 2562 และไม่เกี่ยวกับเหตุการณ์ในปี 2568

17 เม.ย. 68

อย่าหลงเชื่อ! ภาพพระฝึกสมาธิ ไม่ใช่ผู้เสียชีวิตจากแผ่นดินไหวเมียนมา
สิ่งแวดล้อมและภัยพิบัติ#ข่าวปลอม

อย่าหลงเชื่อ! ภาพพระฝึกสมาธิ ไม่ใช่ผู้เสียชีวิตจากแผ่นดินไหวเมียนมา

ภาพถ่ายเก่าจากสถานปฏิบัติธรรมในเมียนมาถูกนำกลับมาแชร์ในโลกออนไลน์ พร้อมคำกล่าวอ้างเท็จว่าเป็นภาพผู้เสียชีวิตจากเหตุแผ่นดินไหวขนาด 7.7 ในช่วงปลายเดือนมีนาคม 2568 ที่คร่าชีวิตผู้คนในประเทศไปแล้วกว่า 3,000 ราย อย่างไรก็ตาม คำกล่าวอ้างนี้เป็นเท็จ ที่จริงแล้ว ภาพถ่ายเหล่านี้ถูกเผยแพร่ในโพสต์เกี่ยวกับการฝึกสมาธิตั้งแต่ปี 2562

11 เม.ย. 68

คลิปเก่า! ถูกเผยแพร่ใหม่อ้างว่าผู้นำจีนประกาศขึ้นภาษีตอบโต้สหรัฐฯ
รอบโลก#ข่าวปลอม

คลิปเก่า! ถูกเผยแพร่ใหม่อ้างว่าผู้นำจีนประกาศขึ้นภาษีตอบโต้สหรัฐฯ

หลังประธานาธิบดีโดนัลด์ ทรัมป์ เดินหน้าบังคับใช้มาตรการภาษีกับจีนอย่างเข้มข้นอีกครั้ง จีนได้ออกมาเรียกร้องให้ทั้งสองชาติ "พบกันครึ่งทาง" อย่างไรก็ตาม คลิปวิดีโอที่ถูกแชร์เป็นวงกว้างในเดือนเมษายนไม่ได้เป็นคลิปใหม่ ที่ประธานาธิบดีสี จิ้นผิงประกาศขึ้นภาษีตอบโต้สหรัฐฯ แต่เป็นการกล่าวสุนทรพจน์ตั้งแต่ปี 2561

11 เม.ย. 68

โพสต์อ้าง พีระมิดเก่าแก่ในอินโดฯ แท้จริงเป็นภาพจาก AI
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี#ข่าวปลอม

โพสต์อ้าง พีระมิดเก่าแก่ในอินโดฯ แท้จริงเป็นภาพจาก AI

นักโบราณคดียืนยันกับ AFP ว่า "กุนุงปาดัง" (Gunung Padang) ซึ่งตั้งอยู่ที่เกาะชวาตะวันตกในอินโดนีเซียไม่ใช่พีระมิดตามคำกล่าวอ้างเท็จออนไลน์ นอกจากนี้ ภาพต่าง ๆ ในโพสต์เป็นภาพที่ถูกสร้างจากปัญญาประดิษฐ์ และไม่ได้มีลักษณะใกล้เคียงกับโครงสร้างหินอันซับซ้อนของโบราณสถานจริงแต่อย่างใด

11 เม.ย. 68

ภาพหมู่บ้านสุดสวยในโปแลนด์ แท้จริงสร้างจาก AI
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี#ข่าวปลอม

ภาพหมู่บ้านสุดสวยในโปแลนด์ แท้จริงสร้างจาก AI

ภาพของหมู่บ้านที่สร้างล้อมถนนสายหลักเป็นภาพที่สร้างโดยปัญญาประดิษฐ์ ไม่ใช่ภาพถ่ายในโปแลนด์ตามคำกล่าวอ้างเท็จในสื่อสังคมออนไลน์ การค้นหาด้วยกูเกิลพบว่าภาพดังกล่าวถูกสร้างขึ้นด้วยเครื่องมือเอไอของกูเกิล นอกจากนี้ ผู้เชี่ยวชาญกล่าวกับ AFP ว่าพบองค์ประกอบภาพที่ผิดปกติหลายจุด และนายกเทศมนตรีของหมู่บ้านที่ถูกอ้างชื่อในโพสต์ก็ยืนยันกับสื่อโปแลนด์ด้วยว่านี่ไม่ใช่ภาพจริง

10 เม.ย. 68

บทความ

บัญชีม้า ไม่รอด ! Feature ใหม่ตรวจจับ-แจ้งเตือนก่อนโอนผ่านแชต Facebook
ข่าว

บัญชีม้า ไม่รอด ! Feature ใหม่ตรวจจับ-แจ้งเตือนก่อนโอนผ่านแชต Facebook

Meta เปิดตัว Feature ใหม่ในประเทศไทยร่วมกับตำรวจสอบสวนกลาง ยกระดับการป้องกันภัยออนไลน์ ตรวจจับบัญชีม้า และปกป้องผู้ใช้จากมิจฉาชีพพร้อมเครื่องมือการยืนยันตัวตน 2 ชั้น

16 พ.ค. 68

พายุ “หอยหมี” ไม่มีอยู่จริง ชวนเช็กก่อนแชร์ ชื่อพายุจริงจากข้อมูลทางการ
ข่าว

พายุ “หอยหมี” ไม่มีอยู่จริง ชวนเช็กก่อนแชร์ ชื่อพายุจริงจากข้อมูลทางการ

กรมอุตุฯ แจง “พายุหอยหมี” เป็นข่าวปลอม ย้ำช่วง 9–13 พ.ค. 68 ยังไม่มีพายุใกล้ไทย ขอประชาชนอย่าหลงเชื่อหรือแชร์ต่อ แนะเช็กรายชื่อพายุทั้งหมดจากแหล่งทางการ

13 พ.ค. 68

แชต-คอลเสียว ต้องระวัง ! รู้ทัน Sextortion กลลวงแบล็กเมลทางเพศออนไลน์
How to

แชต-คอลเสียว ต้องระวัง ! รู้ทัน Sextortion กลลวงแบล็กเมลทางเพศออนไลน์

Cyber Sextortion เป็นคำที่เกิดจากการรวมกันของคำว่า Sexual (เพศ) และ Extortion (การข่มขู่ กรรโชก) หมายถึงการข่มขู่หรือแบล็กเมลผู้เสียหายด้วยเรื่องทางเพศ โดยผู้ก่อเหตุจะหลอกล่อหรือหาวิธีได้ภาพหรือวิดีโอส่วนตัวของผู้เสียหาย จากนั้นจะใช้ภาพเหล่านี้เป็นเครื่องมือกดดันให้ยอมทำตาม เช่น โอนเงิน ส่งภาพเพิ่มเติม หากปฏิเสธ ผู้กระทำจะข่มขู่ว่าจะเผยแพร่ภาพหรือวิดีโอเหล่านี้ต่อสาธารณะ และที่น่ากังวลคือ เหยื่อจากการถูกแบล็กเมลทางเพศหลายคนเป็นเยาวชน

6 พ.ค. 68

รู้ทันกลโกงสมัครงานรีวิวออนไลน์ จากบทเรียน “เบสท์ ชนิดาภา” สูญเงิน 1.2 ล้าน
How to

รู้ทันกลโกงสมัครงานรีวิวออนไลน์ จากบทเรียน “เบสท์ ชนิดาภา” สูญเงิน 1.2 ล้าน

งานรีวิวโรงแรมที่ผ่านหน้าฟีดรายวันด้วยการจูงใจรายได้ดีและด้วยความยากของงานที่ไม่ตึงมือมากนัก แม้จะดูเหมือนเป็นโอกาสที่ดี แต่กลับกลายเป็นกับดักสูญเงินกว่าล้านบาท

15 พ.ค. 68

ใช้ WiFi ฟรี ในที่สาธารณะ ปลอดภัยหรือไม่? รู้ทันภัยแฝงจากการใช้อินเทอร์เน็ตนอกบ้าน
How to

ใช้ WiFi ฟรี ในที่สาธารณะ ปลอดภัยหรือไม่? รู้ทันภัยแฝงจากการใช้อินเทอร์เน็ตนอกบ้าน

Thai PBS Verify ชวนสังเกตความเสี่ยงที่แฝงมากับ Wi-Fi สาธารณะ ป้องกันการถูกสอดแนม โดยเฉพาะจากการใช้งานอินเทอร์เน็ตฟรีในที่สาธารณะ ที่แม้จะประหยัดค่าใช้จ่าย แต่ราคาที่ต้องเสียไปจากการถูกสอดแนมข้อมูลนั้นแพงกว่ามาก

8 พ.ค. 68

ดูให้ชัด! วิธีเช็ก “ช็อกโกแลตปลอม” แฝงสารอันตราย
How to

ดูให้ชัด! วิธีเช็ก “ช็อกโกแลตปลอม” แฝงสารอันตราย

สายของหวานต้องระวัง! ตำรวจสอบสวนกลางพบขนมอัลมอนด์เคลือบช็อกโกแลตปลอมขายกลางย่านประตูน้ำ บรรจุภัณฑ์ทำเหมือนแบรนด์ดัง หากมองเผิน ๆ อาจแยกไม่ออก ตำรวจชี้อาจมีสารอันตรายที่ส่งผลร้ายแรงต่อสุขภาพ

3 พ.ค. 68

เตือนภัย! มิจฉาชีพสวมรอยเป็น Netflix ลวงต่ออายุสมาชิก สูญเงินกว่า 2 แสนบาท
ข่าว

เตือนภัย! มิจฉาชีพสวมรอยเป็น Netflix ลวงต่ออายุสมาชิก สูญเงินกว่า 2 แสนบาท

พบมิจฉาชีพแอบอ้างเป็นตัวแทนจาก Netflix หลอกขอข้อมูลบัตรเครดิต มีผู้เสียหายสูญเงินกว่า 200,000 บาท หลังกรอกข้อมูลและรหัส OTP ผ่านลิงก์ที่แนบมากับอีเมล มูลนิธิเพื่อผู้บริโภคเตือนประชาชนเพิ่มความระมัดระวัง หลีกเลี่ยงการให้ข้อมูลสำคัญผ่านช่องทางไม่น่าเชื่อถือ

14 พ.ค. 68

จับ 3 ชาวจีน แบล็กเมลเหยื่อ ลวงถ่ายคลิปอนาจาร ขู่เรียกเงิน 1.9 ล้าน
ข่าว

จับ 3 ชาวจีน แบล็กเมลเหยื่อ ลวงถ่ายคลิปอนาจาร ขู่เรียกเงิน 1.9 ล้าน

ตำรวจสอบสวนกลาง จับกุมชาวจีน 3 คน ร่วมขบวนการข่มขู่กรรโชกทรัพย์ โดยอาศัยหญิงไทยล่อลวงเหยื่อให้ถ่ายคลิปช่วยตัวเอง หลังจากนั้นแอบถ่ายคลิปแบล็กเมลผู้เสียหาย เรียกเงินกว่า 1.9 ล้านบาท สืบพบเส้นทางเงินเชื่อมโยงการฟอกเงินผ่านเหรียญดิจิทัล รวมมูลค่ากว่า 5,000 ล้านบาท

7 พ.ค. 68

วิธีปิดโลเคชันในรูป iPhone ป้องกันส่งพิกัดโดยไม่รู้ตัว!
How to

วิธีปิดโลเคชันในรูป iPhone ป้องกันส่งพิกัดโดยไม่รู้ตัว!

เคยสงสัยไหม? ทำไมเวลาบันทึกหรือแชร์รูปจากมือถือ เช่น iPhone ภาพเหล่านั้นถึงแสดงพิกัดสถานที่ในอัลบั้มรูป หรือบางครั้งเพื่อนกลับรู้พิกัดว่าเราถ่ายภาพที่ไหน ทั้งที่เราไม่ได้บอก

2 พ.ค. 68