EN
ตรวจสอบพบ: “มิจฉาชีพ” ปลอมข่าว “Thai PBS” อ้าง “ชาคริต” ถูกจับ
สังคมและสุขภาพ#ข่าวปลอม

ตรวจสอบพบ: “มิจฉาชีพ” ปลอมข่าว “Thai PBS” อ้าง “ชาคริต” ถูกจับ

Thai PBS Verify พบคลิปจาก TikTok แอบอ้างใช้ภาพโลโก้ "Thai PBS" ลงคลิปอ้าง "ชาคริต แย้มนาม" นักแสดงจากซิตคอม "เป็นต่อ" ถูกจับพร้อมภรรยาในคดีฟอกเงิน เตือนอย่าหลงเชื่อ

22 พ.ค. 68

เตือนแชร์คลิปอุบัติเหตุ “สงกรานต์” ย้อนหลัง เสี่ยงผิดกม.
บทวิเคราะห์

เตือนแชร์คลิปอุบัติเหตุ “สงกรานต์” ย้อนหลัง เสี่ยงผิดกม.

การแชร์คลิปอุบัติเหตุสงกรานต์ย้อนหลังโดยไม่ตรวจสอบ แทนที่จะเตือนภัย อาจเข้าข่ายความผิดตาม พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ เสี่ยงโทษปรับ-จำคุก Thai PBS Verify นำความรู้เรื่องของข้อกฎหมาย พร้อมวิธีตรวจสอบข้อมูลเบื้องต้นก่อนกดแชร์มาไว้ที่นี่

15 เม.ย. 68

“ดีอี” เผยสถิติสแกน “Fake News” 1,170 ล้านข้อความ
ข่าว

“ดีอี” เผยสถิติสแกน “Fake News” 1,170 ล้านข้อความ

ศูนย์ต่อต้านข่าวปลอม ประเทศไทย เผยสถิติคัดกรองข้อความ Fake News ช่วง 6 ปี 1,172,694,555 ข้อความ พบข้อความเข้าเกณฑ์ตรวจสอบกว่า 74,892 ข้อความ แจ้งเตือนข่าวปลอม-บิดเบือน ประชาชนแล้วกว่า 10,000 เรื่อง

8 เม.ย. 68

ตำรวจไซเบอร์เอาจริง เตือนหยุดข่าวลวง “วันโกหก”
ข่าว

ตำรวจไซเบอร์เอาจริง เตือนหยุดข่าวลวง “วันโกหก”

ตำรวจไซเบอร์ เตือนให้ระมัดระวังการสร้างหรือแชร์ข้อมูลเท็จท่ามกลางสถานการณ์แผ่นดินไหวที่เกิดขึ้นในประเทศไทย โดยเฉพาะในวันที่ 1 เมษายน ซึ่งตรงกับ April Fool’s Day หรือ วันแห่งการโกหก การเผยแพร่ข้อมูลเท็จอาจทำให้สถานการณ์เลวร้ายลง หากพบจะถูกดำเนินคดีตามกฎหมายเด็ดขาด

1 เม.ย. 68

ตรวจสอบแล้ว : ไม่ใช่ “นักข่าว” ปมถาม “แผ่นดินไหว” เพราะ “สมรสเท่าเทียม-กาสิโน”
สิ่งแวดล้อมและภัยพิบัติ#ข่าวปลอม

ตรวจสอบแล้ว : ไม่ใช่ “นักข่าว” ปมถาม “แผ่นดินไหว” เพราะ “สมรสเท่าเทียม-กาสิโน”

Thai PBS Verify พบคลิปที่อ้างว่าเป็นเสียงของผู้สื่อข่าว ที่สอบถามขณะสัมภาษณ์เหตุแผ่นดินไหว อ้างว่าสาเหตุเกิดขึ้นเพราะรัฐบาลผ่าน กฎหมายสมรสเท่าเทียม และ กาสิโน ตรวจสอบพบไม่ใช่นักข่าวแต่อย่างใด

29 มี.ค. 68

ตรวจสอบพบ : “ตึกใบหยก” สีแตกตั้งแต่ปี 54 ไม่ใช่ “ตึกร้าว” ตามข่าวลือ
สิ่งแวดล้อมและภัยพิบัติ#ข่าวบิดเบือน

ตรวจสอบพบ : “ตึกใบหยก” สีแตกตั้งแต่ปี 54 ไม่ใช่ “ตึกร้าว” ตามข่าวลือ

ช่วงเหตุการณ์แผ่นดินไหวเมียนมา Thai PBS Verify พบข่าวลือต่าง ๆ แพร่สะพัดจำนวนมาก ซึ่งหนึ่งในข่าวที่ตรวจสอบคือโพสต์ที่มีการอ้างว่า ตึกใบหยก "เอียง-ร้าว" จากการตรวจสอบพบรอยคล้ายรอยร้าวเป็นเพียงรอยของสีแตกตั้งแต่ปี 2554 เพียงเท่านั้น

29 มี.ค. 68

ตรวจสอบแล้ว : นักวิชาการชี้ “สบู่สเตนเลส” ไม่ทำให้ร่างกายสะอาด หลังพบคลิปชวนซื้อคนดูกว่า 1 ล้านครั้ง
สังคมและสุขภาพ#ข่าวบิดเบือน

ตรวจสอบแล้ว : นักวิชาการชี้ “สบู่สเตนเลส” ไม่ทำให้ร่างกายสะอาด หลังพบคลิปชวนซื้อคนดูกว่า 1 ล้านครั้ง

นักวิชาการ ระบุ "สบู่สเตนเลส" ไม่ทำให้ร่างกายสะอาด หลังคลิปอ้าง "สบู่สเตนเลส" ใช้ทำความสะอาดกลิ่นกาย และร่างกายได้ พบมียอดผู้เข้าชมกว่า 1 ล้านครั้ง

19 มี.ค. 68

อย่าเชื่อ ! คลิปเทศกาลดนตรี ถูกอ้างงานเฉลิมฉลองชาวอิสราเอลใน “ปาย”
สังคมและสุขภาพ#ข่าวปลอม

อย่าเชื่อ ! คลิปเทศกาลดนตรี ถูกอ้างงานเฉลิมฉลองชาวอิสราเอลใน “ปาย”

วิดีโองานเทศกาลดนตรีใน จ.เชียงใหม่ ถูกโพสต์อ้างเป็นพิธีกรรมของชาวอิสราเอลใน อ.ปาย จ.แม่ฮ่องสอน

28 ก.พ. 68

ภาพเก่าปี 64 ถูกอ้างแรงงานเมียนมาร้องขอค่าแรง 700/วัน
สังคมและสุขภาพ#ข่าวปลอม

ภาพเก่าปี 64 ถูกอ้างแรงงานเมียนมาร้องขอค่าแรง 700/วัน

อย่าเชื่อ ! ภาพเก่าถูกแชร์ อ้างแรงงานเมียนมาเรียกร้องค่าแรงขั้นต่ำ 700 บาท/วัน ตรวจสอบพบเป็นภาพเก่าปี 64 ด้านนักวิชาการชี้โพสต์เท็จ ส่งผลแรงงานไม่กล้าใช้ชีวิตตามปกติ

17 ก.พ. 68